แนวข้อสอบวิชาการศึกษา ไม่มีเฉลย
ขอบคุณที่มา : http://www.krucenter.net/UserFiles/File/sob/s64.pdf
1. การบริหารงานในสถานศึกษาโดยทั่วไปมีทั้งหมดกี่ด้าน
ก. 2 ด้าน
ข. 3 ด้าน
ค. 4 ด้าน
ง. 6 ด้าน
2. ข้อใดไม่ใช่งานของสถานศึกษา
ก. ด้านวิชาการ
ข. ด้านงบประมาณ
ค. ด้านการบริหารงานบุคคล
ง. ด้านการบริหารงานทั่วไป
3. ข้อใดถูกต้องที่สุดตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกระจายอานาจ
ก. ด้านวิชาการ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารทั่วไป
ข. ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านวิชาการ ด้านการบริหารทั่วไป
ค. ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารทั่วไป ด้านบุคคล
ง. ด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป
4. กระทรวงศึกษากระจายอานาจการบริหารการจัดการศึกษาในข้อใดที่ไม่ได้กาหนดไว้ในกฎกระทรวง
ก. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ข. สานักงานเขต
ค. สถานศึกษา
ง. คณะกรรมการสถานศึกษา
5. ข้อใดไม่ใช่ด้านวิชาการ
ก. การนิเทศการศึกษา
ข. การแนะแนว
ค. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
ง. การไปทัศนศึกษา
6. ข้อใดไม่ใช่ด้านการบริหารทั่วไป
ก. การไปทัศนศึกษา
ข. งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ค. งานกิจการนักเรียน
ง. งานแนะแนว
7. ด้านใดมีขอบข่ายของงานน้อยที่สุด
ก. ด้านวิชาการ
ข. ด้านงบประมาณ
ค. ด้านการบริหารงานบุคคล
ง. ด้านการบริหารทั่วไป
8. ด้านใดมีความสาคัญมากที่สุด
ก. ด้านวิชาการ
ข. ด้านงบประมาณ
ค. ด้านการบริหารงานบุคคล
ง. ด้านการบริหารทั่วไป
9. ในการบริหารงานโรงเรียนให้สอดคล้องกับยุคโลกาภิวัตน์ ควรยึดงานใดเป็นหลัก
ก. ด้านวิชาการ
ข. ด้านงบประมาณ
ค. ด้านการบริหารงานบุคคล
ง. ด้านการบริหารทั่วไป
10. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษาอยู่ในด้านใดของงานโรงเรียน
ก. ด้านวิชาการ
ข. ด้านงบประมาณ
ค. ด้านการบริหารงานบุคคล
ง. ด้านการบริหารทั่วไป
11. การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษาอยู่ในด้านใดของงานโรงเรียน
ก. ด้านวิชาการ
ข. ด้านงบประมาณ
ค. ด้านการบริหารงานบุคคล
ง. ด้านการบริหารทั่วไป
12. การลาอยู่ในด้านใดของงานโรงเรียน
ก. ด้านวิชาการ
ข. ด้านงบประมาณ
ค. ด้านการบริหารงานบุคคล
ง. ด้านการบริหารทั่วไป
13. การจัดระบบการควบคุมภายในหน่วยงานอยู่ในด้านใดของงานโรงเรียน
ก. ด้านวิชาการ
ข. ด้านงบประมาณ
ค. ด้านการบริหารงานบุคคล
ง. ด้านการบริหารทั่วไป
14. งานใดที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่มีอานาจดาเนินการ
ก. การนิเทศการศึกษา
ข. การแนะแนว
ง. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
ง. การไปทัศนศึกษา
15. งานใดต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
ก. การนิเทศการศึกษา
ข. การแนะแนว
ค. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
ง. การไปทัศนศึกษา
16. งานโรงเรียนสามารถดำเนินการได้โดยไม่ต้องขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
ก. การรับนักเรียน
ข. การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ค. การวางแผนการบริหารงานการศึกษา
ง. การวัดผล ประเมินผล การเทียบโอน
17. ข้อใดมิใช่วิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุล
ข. มีความรู้และทักษะพื้นฐาน
ค. มีความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
ง. เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
18. ข้อใดไม่ใช่หลักการของหลักสูตร
ก. เพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ
ข. เพื่อปวงชน
ค. สนองการกระจายอานาจให้สังคมมีส่วนร่วม
ง. มีโครงสร้างแน่นอนทั้งสาระเวลา
และการเรียนรู้
19. มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข อยู่ในส่วนใดของหลักสูตร
ก. วิสัยทัศน์
ข. หลักการ
ค. จุดหมาย
ง. สมรรถนะที่สาคัญ
20. ข้อใดไม่ใช่สมรรถนะที่สาคัญของหลักสูตร
ก. ความสามารถในการสื่อสาร
ข. ความสามารถในการคิด
ค. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ง. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
21. ข้อใดไม่ใช่คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ก. ซื่อสัตย์สุจริต
ข. มีวินัย
ค. รักความเป็นไทย
ง. ขยัน ประหยัด
22. เป็นเป้าหมายสาคัญในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา เกี่ยวข้องกับข้อใดเป็นพิเศษ
ก. จุดหมายของหลักสูตร
ข. คุณลักษณ์อันประสงค์
ค. มาตรฐานการเรียนรู้
ง. ตัวชี้วัด
23. นาไปใช้ในการกาหนดเนื้อหา จัดทาหน่วยการเรียนรู้ และเป็นเกณฑ์สาคัญในการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน เกิดจาดข้อใด
ก. จุดหมายของหลักสูตร
ข. คุณลักษณะอันประสงค์
ค. มาตรฐานการเรียนรู้
ง. ตัวชี้วัด
24. ตัวชี้วัดช่วงชั้น เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับใด
ก. ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3
ข. มัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3
ค. มัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6
ง. มัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6
25. ข้อใดไม่ใช่ขอบข่ายของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ก. กิจกรรมแนะแนว
ข. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ค. กิจกรรมนักเรียน
ง. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
26. กิจกรรมใดช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจนักเรียน ช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่ผู้ปกรอง
ก. กิจกรรมแนะแนว
ข. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ค. กิจกรรมนักเรียน
ง. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
27. กิจกรรมใดที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นาผู้ตามที่ดีและความรับผิดชอบ
ก. กิจกรรมแนะแนว
ข. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ค. กิจกรรมนักเรียน
ง. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
28. กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ เป็นกิจกรรมในข้อใด
ก. กิจกรรมแนะแนว
ข. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ค. กิจกรรมนักเรียน
ง. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
29. ความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เป็นกิจกรรมในข้อใด
ก. กิจกรรมแนะแนว
ข. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ค. กิจกรรมนักเรียน
ง. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
30. การแบ่งระดับการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ระดับก่อนประถมศึกษา
ข. ระดับประถมศึกษา
ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ง. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
31. มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน ทักษะการคิดพื้นฐาน กระบวนการเรียนรู้ทางสังคมลื้นฐาน
ความเป็นมนุษย์ เป็นการจัดการศึกษาระดับใด
ก. ระดับก่อนประถมศึกษา
ข. ระดับประถมศึกษา
ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ง. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
32. เน้นการเรียนรู้แบบบูรณาการ เป็นการจัดการศึกษาระดับใด
ก. ระดับก่อนประถมศึกษา
ข. ระดับประถมศึกษา
ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ง. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
33. มีทักษะในการคิด ทักษะในการดาเนินชีวิต และทักษะในการใช้เทคโนโลยี เป็นการจัด
การศึกษาในระดับใด
ก. ระดับก่อนประถมศึกษา
ข. ระดับประถมศึกษา
ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ง. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
34. สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ มุ่ง
พัฒนาตนเองและประเทศ เป็นการจัดการศึกษาในระดับใด
ก. ระดับก่อนประถมศึกษา
ข. ระดับประถมศึกษา
ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ง. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
35. การจัดเวลาเรียนในข้อใดถูกต้อง
ก. ระดับประถมศึกษา จัดเวลาเรียนเป็นรายปี มีเวลาเรียน วันละไม่เกิน 5 ชั่วโมง
ข. ระดับมัธยมศึกษา จัดเวลาเรียนเป็นรายปี วันละไม่เกิน 6 ชั่วโมง คิดเป็นหน่วยกิต
ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจัดเวลาเรียนเป็นรายภาค วันละไม่เกิน 6 ชั่วโมง คิดเป็นหน่วยกิต
ง. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค วันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง
คิดน้าหนักเป็นหน่วยกิต
36. การจัดเวลาเรียนในวิชาใดมากในระดับต้น และลดลงในช่วงระดับสูงขึ้น
ก. ภาษาไทย คณิตศาสตร์
ข. วิทยาศาสตร์
ค. สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม
ง. ศิลปะ
37. ระดับใดจัดเวลาเรียนเป็นรายปี
ก. ระดับประถมศึกษา
ข. ระดับประถมศึกษา – ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ง. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
38. สถานศึกษาอาจจัดให้เป็นเวลาสาหรับสาระการเรียนรู้พื้นฐานในกลุ่มสาระภาษาไทยและ
คณิตศาสตร์ในระดับใด
ก. ระดับ ป.
ข. ระดับ ป. 1 – 6
ค. ระดับ ม. 1 – 3
ง. ระดับ ม. 4 – 6
39. การจัดเวลาเรียนในข้อใดที่มีเวลาเรียนเท่ากันตลอดหลักสูตร
ก. วิชาวิทยาศาตร์
ข. วิชาสังคมศึกษา ศาสนาวัฒนธรรม
ค. วิชาศิลปะ
ง. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
40. รายวิชา/กิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น ระดับชั้นใดที่ใช้เวลาเรียนมากที่สุด
ก. ระดับ ป. 1 – 3
ข. ระดับ ป. 1 – 6
ค. ระดับ ม. 1 – 3
ง . ระดับ ม. 4 – 6
41. สถานศึกษาจัดสรรเวลาเรียนในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ระดับประถมศึกษา จานวน 60 ชั่วโมง
ข. ระดับประถมศึกษา – ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 60 ชั่วโมง
ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 45 ชั่วโมง
ง. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 60 ชั่วโมง
42. ข้อใดมิใช่ระดับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
ก. ระดับห้องเรียน
ข. ระดับชั้นเรียน
ค. ระดับสถานศึกษา
ง. ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
43. การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี /รายภาค เป็นการประเมินระดับใด
ก. ระดับชาติ
ข. ระดับชั้นเรียน
ค. ระดับสถานศึกษา
ง. ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
44. สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในชั้น ป. 3 ป. 6 ม. 3 ม. 6 เข้ารับการประเมิน
เป็นการประเมินระดับใด
ก. ระดับชาติ
ข. ระดับชั้นเรียน
ค. ระดับสถานศึกษา
ง. ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
45. การตัดสินผลการเรียนระดับประถมศึกษา และ ระดับมัธยมศึกษาแตกต่างกันในข้อใด
ก. เวลาเรียน
ข. ตัวชี้วัด
ค. รายวิชา
ง. การอ่าน คิดวิเคราะห์เขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
46. เกณฑ์การจบหลักสูตร ข้อใดถูกต้อง
ก. ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา
ข. ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ค. ระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา
ง. ระดับประถมศึกษา ระดับการศึกษาภาคบังคับ และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
47. เกณฑ์การจบหลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนต้นข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ต้องเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วย
ข. ต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วย
ค. มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนในระดับผ่าน
ง. เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
48. เกณฑ์การจบหลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ต้องได้หน่วยกิตรายวิชาพื้นฐานทั้งหมดกี่หน่วยกิต
ก. 63 หน่วยกิต
ข. ไม่น้อยกว่า 14 หน่วยกิต
ค. 39 หน่วยกิต
ง. ไม่น้อยกว่า 38 หน่วยกิต
49. ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารที่ออกให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคลที่จบการศึกษา ยกเว้นออกให้ผู้ใด
ก. ป. 3
ข. ป. 6
ค. ม. 3
ง. ม. 6
50. ในการบริหารจัดการหลักสูตรให้ประสบความสาเร็จ สถานศึกษามีภารกิจสาคัญในข้อใดมากที่สุด
ก. กาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน
ข. จัดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ค. จัดทาหลักสูตรสถานศึกษา
ง. วางแผนและดาเนินการใช้หลักสูตร
51. งานโรงเรียนข้อใดไม่ใช่ด้านการบริหารทั่วไป
ก. การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
ข. การส่งเสริม สนับสนุนและประสานการจัดการศึกษาของบุคคล ชุมชนองค์กร หน่วยงานและสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษา
ค. งานประสานราชการกับส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น
ง. การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
52. ข้อใดไม่ช่มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ
ก. คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์
ข. แนวการจัดการศึกษา
ค. แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ง. ด้านการจัดการเรียนรู้
53. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติเน้นด้านใดเป็นพิเศษ
ก. เก่ง ดี มีสุข
ข. คนดี คนเก่ง และมีความสุข
ค. รักชาตฺ ศาสน์ กษัตริย์
ง. ซื่อสัตย์ มีวินัย
54. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. แนวการจัดการศึกษา
ข. การบริหารแลการจัดการ
ค. คุณภาพผู้เรียน
ง. การพัฒนาชุมชน
55. คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเน้นด้านใดเป็นพิเศา
ก. เก่ง ดี มีสุข
ข. คนดี คนเก่ง และมีความสุข
ค. รักชาตฺ ศาสน์ กษัตริย์
ง. ซื่อสัตย์ มีวินัย
56. ข้อใดไม่ใช่อุดมการณ์ของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. เป็นการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน
ข. เพื่อพัฒนาเยาวชนไทยทุกคนให้มีลักษณะที่พึงประสงค์
ค. เพื่อเป็นรากฐานที่พอเพียงสาหรับการใฝ่รู้ใฝ่เรียนตลอดชีวิต
ง. พัฒนาผู้เรียนอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม
57. หลักการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาปฐมวัยข้อใดไม่แตกต่างกัน
ก. หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นไทย
ข. หลักแห่งความเสมอภาค
ค. หลักการมีส่วนร่วม
ง. หลักการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม
58. อุดมการณ์ของการจัดการศึกษาปฐมวัยข้อใดสาคัญที่สุด
ก. เพื่อวางรากฐานชีวิตของเด็กไทยให้เจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์
ข. เตรียมเด็กให้พร้อมที่จะเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับที่สูงขึ้น
ค. มุ่งเน้นการพัฒนาเด็กบนพื้นฐาน การอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
ง. สนองต่อธรรมชาติ และพัฒนาการของเด็กแต่ละบุคคล
59. หลักการจัดการศึกษา
ก. เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน
ข. ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ค. พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ง. การกระจายอานาจ
60. ครอบครัวซึ่งประสงค์จะจัดการศึกษา ยื่นคาขออนุญาตจัดการศึกษาต่อหน่วยงานใดเป็นอันดับแรก
ก. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ข. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
61. ใครมีอานาจอนุญาตจัดการศึกษาโดยครอบครัว
ก. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ข. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
62. การยื่นคาขออนุญาตจัดการศึกษาโดยครอบครัว หลักฐานในข้อใดสาคัญที่สุด
ก. สาเนาหลักฐานวุฒิการศึกษา
ข. สาเนาทะเบียนบ้าน
ค. แผนผังการจัด
ง. หนังสืออนุญาต
63. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยศูนย์การเรียน การจัดตั้งศูนย์การเรียนให้เจ้าของสถานประกอบการยื่นคาขอเป็นหนังสือต่อหน่วยงานใด
ก. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ข. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
64. ข้อกาหนดเกี่ยวกับคณะกรรมการศูนย์การเรียน องค์ประกอบใดไม่ได้กาหนดไว้
ก. เจ้าของสถานประกอบการ/ผู้แทน
ข. ผู้แทนลูกจ้าง
ค. ผู้ทรงคุณวุฒิ
ง. ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
65. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยสถาบันพระพุทธศาสนา การศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม เป็นการศึกษาในระดับใด
ก. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ข. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ง. ระดับประถมศึกษา
ง. ระดับอุดมศึกษา
66. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยสถาบันพระพุทธศาสนา ต้องมีพื้นความรู้ขั้นต่าระดับใด
ก. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ข. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ค. ระดับประถมศึกษา
ง. ระดับอุดมศึกษา
67. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีหน้าที่จัดการศึกษาโดยสถาบันพระพุทธศาสนาอย่างไร
ก. ส่งเสริม สนับสนุนและให้ข้อเสนอแนะ
ข. กากับดูแล
ค. จัดตั้ง ยุบ รวม เลิก
ง. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน
68. หลักการสาคัญของการปฏิรูปการศึกษา
ก. ยึดโรงเรียนเป็นศูนย์กลาง
ข. การมีส่วนร่วม
ค. การกระจายอานาจ
ง. ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
69. ความเป็นนิติบุคคลของโรงเรียน เป็นนิติบุคคลตามกฎหมายใด
ก. นิติบุคคลตามกฎหมายแพ่งและพานิชย์
ข. นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชนประเภทเฉพาะ
ค. นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชนทั่วไป
ง. นิติบุคคลตามกฎมายมหาชน
70. การมอบอานาจการปฏิบัติราชการตาม พรบ.ระเบรยบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้หลักการ ยกเว้นข้อใด
ก. การพิจารณาให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับงบประมาณ
ข. การทานิติกรรมสัญญาภายในวงเงินที่ได้รับอนุมัติ
ค. หลักเกณฑ์การพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนาและการดาเนินการทางวินัย
ง. การให้ความเห็นชอบการบรรจุแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
71. หลักการ การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน หรือ SBM
ก. การกระจายอานาจการบริหารจัดการ
ข. การบริหารแบบมีส่วนร่วม
ค. การบริหารตนเอง
ง. ยึด รร.เป็นศูนย์กลางของการเปลี่ยนแปลง
72. แนวทางการบริหารให้ประสบความสาเร็จ ข้อใดสาคัญที่สุด
ก. การพัฒนาบุคลากร
ข. ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้าใจ
ค. ต้องกระจายอานาจการตัดสินใจ
ง. การบริหารจัดการโดยองค์คณะบุคคล
73. แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารโดย SBM ข้อใดต้องดาเนินการเป็นอันดับแรก
ก. การกาหนดวิสัยทัศน์และค่านิยมร่วมของสถานศึกษา
ข. กาหนดแผนพัฒนาสถานศึกษา / แผนกลยุทธ์
ค. กาหนดปัจจัยความสาเร็จ / ดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงาน
ง. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
74. ยุทธศาสตร์ที่สาคัญสุดในการนารูปแบบ SBM ไปใช้ในสถานศึกษา ข้อใด
ก. การเตรียมความพร้อมของบุคลากร
ข. การพัฒนาสมรรถภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา
ค. ความเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร
ง. การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้
75. หลักการกระจายอานาจ ข้อใดสาคัญที่สุด
ก. หลักความพร้อมและความเหมาะสม
ข. หลักความสอดคล้องกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ค. หลักความเป็นเอกภาพด้านมาตรฐานและนโยบาย
ง. ความเป็นอิสระและความคล่องตัว
76. การกระจายอานาจตามภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่งานใด
ก. งานวิชาการ งานบริหารทั่วไป
ข. งานงบประมาณ งานการเงิน
ค. งานวิชาการ งานบุคลากร
ง. งานบริหารทั่วไป งานงบประมาณ
77. การกระจายอานาจที่ไม่ใช่ภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่งานใด
ก. งานวิชาการ งานบริหารทั่วไป
ข. งานงบประมาณ งานการเงิน
ค. งานวิชาการ งานบุคลากร
ง. งานบริหารทั่วไป งานงบประมาณ
78. ข้อใดไม่ใช่องค์ประเภทของสถานศึกษาประเภทที่ 1
ก. มีจานวน นร.ตั้งแต่ 500 คนขึ้นไป
ข. รร. หรือศูนย์การศึกษาพิเศษ
ค. มีผลการประเมินผ่านมาตรฐานของ สมศ.
ง. เป็นสถานศึกษาขนาดใหญ่
79. หลักการบริหารงานวิชาการ ข้อใดสาคัญที่สุด
ก. ให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา
ข. ให้สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนรู้ยึดผู้เรียนป็นสาคัญ
ค. ให้ชุมชนและสังคมมีส่วนร่วมกาหนดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้
ง. มุ่งส่งเสริมให้มีการร่วมมือเป็นเครือข่าย
80. การพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น ข้อใดดาเนินการเป็นอันดับแรก
ก. ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. ศึกษา วิเคราะห์และจัดทาข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่น
ค. จัดทากรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ง. ให้คณะกรรมการเขตให้ความเห็นชอบ
81. การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา
ก. จัดทากรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ข. จัดทาศูนย์รวบรวมลักสูตรและนวัตกรรม
ค. ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสภาพปัญหาการจัดทาหลักสูตร
ง. นิเทศ กากับ ติดตามและประเมินผล
82. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา ต้องดาเนินการข้อใดก่อน
ก. พัฒนาระบบข้อมูล
ข. พัฒนามาตรฐานและตัวชี้วัด
ข. ประกาศและประชาสัมพันธ์ให้ทุก รร.รู้เป้าหมาย
ง. กาหนดแผนงานและวิธีการส่งเสริมช่วยเหลือ รร.ที่ไม่มีคุณภาพ
83. การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นทุกเวลาทุกสถานที่ตามสถานการณ์ มีวัตถุประสงค์ข้อใดสาคัญที่สุด
ก. เพื่อให้ชุมชนมีความเข้าใจอันดีต่อโรงเรียน
ข. เพื่อให้โรงเรียนสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในชุมชน
ค. เพื่อให้โรงเรียนได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือจากชุมชน
ง. เพื่อให้ความช่วยเหลือในด้านวิชาการและอื่น ๆ
84. จุดเน้นในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ข้อใดสาคัญที่สุด
ก. เพื่อสนับสนุนให้การดาเนินการในงานหลักของโรงเรียนคืองานวิชาการประสบผลสาเร็จ
ข. เพื่อสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ดีของหน่วยงาน
ค. เพื่อสร้างขวัญและกาลังใจให้แก่บุคลากรในการปฏิบัติงาน
ง. เพื่อให้การป้องกันและร่วมแก้ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงานของโรงเรียนที่อาจเกิดขึ้นจากผลกระทบกับชุมชน
85. แนวทางการบริหารการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน ต้องเริ่มจากขั้นตอนใด
ก. การศึกษาวิเคราะห์และวิจัยชุมชน
ข. วางแผน และกาหนดขั้นตอนสาคัญในการดาเนินงาน
ค. ประชุม อบรม สัมมนาผู้ปกครอง
ง. สารวจความต้องการชุมชน
86. เพราะเหตุใด จึงจาเป็นต้องศึกษาวิเคราะห์ วิจัยชุมชน
ก. ภารกิจหลักในการพัฒนาการศึกษา
ข. ความจากัดของงบประมาณทางราชการ
ค. ความพร้อมของทรัพยากรในชุมชน
ง. เพื่อผลในทางจิตวิทยา
87. การศึกษาข้อมูลของชุมชน ข้อใดควรคานึงถึงมากที่สุด
ก. ผู้บริหารศึกษาข้อมูลโดยตรงด้วยตนเอง
ข. ผู้บริหารและครูที่รับผิดชอบโครงการ
ค. คณะครูในโรงเรียนร่วมมือกัน
ง. ผู้บริหารผู้ที่เกี่ยวข้อง คณะบุคลากรในโรงเรียนและบุคลากรในชุมชนร่วมกันศึกษาข้อมูลโดยแยกเป็นหมวดหมู่
88. การวิเคราะห์ชุมชน ข้อใดได้ผลมากที่สุด
ก. จัดประชุมสัมมนาคณะครูผู้นาชุมชนคณะกรรมการสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องพร้อมนาเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้
ข. คณะผู้ร่วมสัมมนาร่วมกาหนดวิสัยทัศน์การสร้างความร่วมมือหรือการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนในอนาคต 3 – 5 ปี
ค. คณะผู้ร่วมสัมมนาช่วยกันตรวจสอบข้อมูลปรับปรุงเพิ่มเติมให้เป็นข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
ง. จัดระบบข้อมูลเดิมและปรับปรุงเป็นสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการนาไปใช้ต่อไป
89. การดาเนินการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน ข้อใดถูกต้อง
ก. ควบคุมดูแลให้การดาเนินการเป็นไปตามแผนวางไว้
ข. ประสานงานกับบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อ
ค. จัดให้มีการประชาสัมพันธ์เป็นระยะ ๆ
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
90. ปัจจัยสาคัญที่สุดในการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนได้แก่ข้อใด
ก. พัฒนาบุคลากรในโรงเรียนให้มีเจตคติที่ดีต่อการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน
ข. ร่วมมือพัฒนาชุมชนอย่างเต็มที่
ค. กาหนดแนวทางการดาเนินงาน
ง. มีการประเมินผลการดาเนินงานตามโครงการ
91. ต้องการรู้ว่าการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนประสบความสาเร็จหรือไม่จะดาเนินการอย่างไร
ก. พัฒนาบุคลากรในโรงเรียนให้มีเจตคติที่ดีต่อการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน
ข. ร่วมมือพัฒนาชุมชนอย่างเต็มที่
ค. กาหนดแนวทางการดาเนินงาน
ง. มีการประเมินผลการดาเนินงานตามโครงการ
92. การประเมินผลการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน ข้อใดได้ผลดีที่สุด
ก. การกาหนดให้มีการประเมินผลหลายรูปแบบตามวัตถุประสงค์โดยใช้เครื่องมือตามความเหมาะสม
ข. การกาหนดให้มีการประเมินจากบุคลากรหลายฝ่ายโดยเฉพาะชุมชนร่วมประเมิน
ค. จัดให้มีการสรุปผล และประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินงาน
ง. ถูกทุกข้อ
93. ข้อสังเกตในการศึกษาวิเคราะห์และวิจัยชุมชน ข้อใดสาคัญที่สุด
ก. ต้องพัฒนาโรงเรียนให้เป็นศูนย์กลางการพัฒนาที่พึ่งตนเอง
ข. ต้องระดมทรัพยากรและเทคโนโลยีที่เหมาะสมทั้งในปัจจุบันและอนาคต
ค. ต้องระดมความคิดจากบุคคลหลายฝ่ายรวมทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าร่วมปรับปรุงพัฒนา
ง. สภาพของโรงเรียนต้องยึดหลักสูตรเป็นสาคัญ
94. กระบวนการฝึกอบรมและพัฒนาชุมชน ข้อใดต้องดาเนินการเป็นอันดับแรก
ก. การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการของท้องถิ่น
ข. การจัดทาแผนการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ค. การปฏิบัติตามแผนเป็นการนาแผนสู่การปฏิบัติเป็นหัวใจที่สาคัญที่จะทาให้กิจกรรมที่
ง. ได้ตกลงและมีพันธะร่วมกันให้ประสบความสาเร็จ
95. แนวทางการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน ข้อใดสาคัญที่สุด
ก. ดาเนินงานด้วยความบริสุทธิ์ใจและตรงไปตรงมา
ข. การติดต่อกับชุมชนต้องมุ่งให้เกิดเจตคติที่ดี
ค. ดาเนินการต่อเนื่องตลอดระยะเวลาทั้งในและนอกโรงเรียน
ง. สร้างความเข้าใจอันดีให้เกิดทั่วไปไม่จากัดเฉพาะกลุ่ม
96. หลักการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน ข้อใดสาคัญที่สุด
ก. รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชนในชุมชน
ข. ใช้วิธีการดาเนินงานง่าย ๆ และเป็นกันเองกับประชาชน
ค. ปรับปรุงการประชาสัมพันธ์ให้มีประสิทธิภาพ
ง. ใช้หลักมนุษยสัมพันธ์
97. ข้อใดไม่ใช่ขอบข่ายการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
ก. งานให้บริการชุมชน
ข. งานรับความช่วยเหลือสนับสนุนจากชุมชน
ค. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. งานประชาสัมพันธ์
98. ความสาคัญของโรงเรียนในชุมชน มีความสาคัญอย่างไร
ก. เป็นศูนย์รวมข่าวสาร
ข. เป็นศูนย์รวมเกี่ยวกับด้านอาชีพ
ค. เป็นศูนย์รวมวัฒนธรรม
ง. ถูกทุกข้อ
99. บทบาทของผู้บริหารโรงเรียนในการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนข้อใดสาคัญที่สุด
ก. การสร้างศรัทธาในตนเอง
ข. การร่วมกันสร้างศรัทธาให้สถาบัน
ค. การเสริมสร้างเกียรติคุณชุมชน
ง. การ่วมกันประชาสัมพันธ์โรงเรียน
100. บทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. กากับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
ข. อนุมัติหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. กำกับ ดูแลการบริหารงานบุคคลให้เป็นไปตามนโยบาย กฎหมาย
ง. ให้ความเห็นชอบการจัดตั้ง ยุบ รวม เลิกสถานศึกษา
ทำความดีด้วยใจย่อมได้สิ่งดีๆๆในชีวิต
ขอบคุณครับผม
ขอดูเฉลยหน่อยคะ ขอบคุณมากคะ
ขอดูเฉลยหน่อยค่ะ
ข้อเฉลยคะ
ขอเฉลยหน่อยค่ะ
ขอดูเฉลยหน่อยค่ะ
ขอเฉลยด้วยค่ะ ขอบคุณค่ะ
ขอเฉลยหน่อยค่ะ ขอบคุณค่ะ
รบกวนขอเฉลยหน่อยค่ะ ขอบคุณค่ะ
พยายามจะหามาให้เร็วที่สุดครับ