ข้อสอบ ก.พ. 2568 ภาค ก วิชาภาษาไทย 30 ข้อ พร้อมเฉลย

ข้อสอบ ก.พ. 2568 ภาค ก วิชาภาษาไทย 30 ข้อ พร้อมเฉลย

ข้อสอบ ก.พ. 2568 ภาค ก วิชาภาษาไทย 30 ข้อ พร้อมเฉลย – เตรียมความพร้อมอย่างครบครัน เตรียมความพร้อมสำหรับการสอบ ก.พ. 2568 ภาค ก วิชาภาษาไทย กับข้อสอบแบบฝึกหัด 30 ข้อ พร้อมเฉลยที่ครบถ้วนและเข้าใจง่าย ครูเชียงรายเชื่อว่า ข้อสอบชุดนี้ช่วยให้ผู้สอบทุกคนสามารถฝึกฝนและเข้าใจแนวทางการออกข้อสอบอย่างละเอียด เพิ่มโอกาสในการทำคะแนนให้สูงขึ้นในการสอบจริง อย่าพลาดโอกาสในการเตรียมตัวอย่างครบถ้วน เริ่มฝึกฝนและสร้างความมั่นใจกันตั้งแต่วันนี้!

แนวข้อสอบภาษาไทย สำหรับสอบเข้ารับราชการ ก.พ. พร้อมเฉลยละเอียด อัปเดตล่าสุด 2568

ส่วนที่ 1: การสะกดคำและการอ่านคำ

  1. จงเลือกคำที่สะกดผิด
    ก. อสนีบาต
    ข. บิณฑบาตร
    ค. ปาณาติปาตา
    ง. ตักบาตร
    เฉลย ข. บิณฑบาตร
  2. จงเลือกคำที่สะกดผิด
    ก. บังอร
    ข. บังสกุล
    ค. บังเอิญ
    ง. บังคับ
    เฉลย ข. บังสกุล
  3. จงเลือกคำที่สะกดผิด
    ก. พินาศ
    ข. นวยนาด
    ค. อำนาจ
    ง. ชมนารถ
    เฉลย ง. ชมนารถ
  4. จงเลือกคำที่สะกดผิด
    ก. โสมนัส
    ข. โทรมนัส
    ค. วีนัส
    ง. ยานัตถุ
    เฉลย ข. โทรมนัส
  5. จงเลือกคำที่สะกดผิด
    ก. สรรเสริญ
    ข. เทพพนม
    ค. อาชญา
    ง. ประมาท
    เฉลย ข. เทพพนม
  6. จงเลือกคำที่อ่านได้ถูกต้อง
    ก. สมานฉันท์ อ่านว่า สะ-หมาน-นะ-ฉัน
    ข. สัปดาห์ อ่านว่า สับ-ดา
    ค. ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ-หวัด-สาด
    ง. อุบัติเหตุ อ่านว่า อุ-บัด-เหด
    เฉลย ข. สัปดาห์ อ่านว่า สับ-ดา
  7. จงเลือกคำที่อ่านได้ถูกต้อง
    ก. ภูมิลำเนา อ่านว่า พูม-ลำ-เนา
    ข. คมนาคม อ่านว่า คม-นา-คม
    ค. เพชรบุรี อ่านว่า เพ็ด-ชะ-ระ-บุ-รี
    ง. มกราคม อ่านว่า มะ-กะ-ระ-คม
    เฉลย ก. ภูมิลำเนา อ่านว่า พูม-ลำ-เนา
  8. จงเลือกคำที่อ่านได้ถูกต้อง
    ก. ชลประทาน อ่านว่า ชน-ละ-ประ-ทาน
    ข. คุณวุฒิ อ่านว่า คุน-วุด
    ค. เกียรติประวัติ อ่านว่า เกียด-ประ-หวัด
    ง. ตุ๊กตา อ่านว่า ตุก-ตา
    เฉลย ก. ชลประทาน อ่านว่า ชน-ละ-ประ-ทาน
  9. จงเลือกคำที่อ่านได้ถูกต้อง
    ก. หลัก อ่านว่า ปะ-หลัก
    ข. เชตุพน อ่านว่า เชด-พน
    ค. บุพบท อ่านว่า บุ-พะ-บด
    ง. บุรพบท อ่านว่า บุ-ระ-พะ-บด
    เฉลย ง. บุรพบท อ่านว่า บุ-ระ-พะ-บด
  10. จงเลือกคำที่อ่านได้ถูกต้อง
    ก. รูปพรรณ อ่านว่า รูบ-พัน
    ข. ถาวรวัตถุ อ่านว่า ถา-วะ-ระ-วัด-ถุ
    ค. รสนิยม อ่านว่า รด-สะ-นิ-ยม
    ง. รูปธรรม อ่านว่า รูบ-ปะ-ทำ
    เฉลย ง. รูปธรรม อ่านว่า รูบ-ปะ-ทำ

ส่วนที่ 2: ความหมายและการใช้คำ

  1. “เขาทั้งสองรักกันอย่างดูดดื่ม”
    ก. ละมุนละไม
    ข. อ่อนหวาน
    ค. ซาบซึ้ง
    ง. ชุ่มชื่น
    เฉลย ค. ซาบซึ้ง
  2. “เธอทำอะไรอย่าบุ่มบ่ามนะ”
    ก. ผลีผลาม
    ข. ไม่มีเหตุผล
    ค. หลงใหล
    ง. คลั่งไคล้
    เฉลย ก. ผลีผลาม
  3. “พิศดาร” หมายถึง
    ก. กว้างขวาง
    ข. มาก
    ค. ประหลาด
    ง. สงสัย
    เฉลย ก. กว้างขวาง
  4. “?” หมายถึง
    ก. ปรัศนี
    ข. อัญประกาศ
    ค. อัศเจรีย์
    ง. นฤคหิต
    เฉลย ก. ปรัศนี
  5. “ธารพระกร” หมายถึง
    ก. ไม้เรียว
    ข. ที่ล้างมือ
    ค. น้ำไหลจากมือ
    ง. ไม้เท้า
    เฉลย ง. ไม้เท้า
  6. “ฝพาย” หมายถึง
    ก. พลทหารเรือ
    ข. พลพายเรือ
    ค. คนท้ายเรือ
    ง. คนขับเรือ
    เฉลย ข. พลพายเรือ
  7. ศาลนัด ………………………. ปากคำของโจทย์และจำเลยวันนี้
    ก. สอบสวน
    ข. สอบถาม
    ค. สืบสวน
    ง. ไต่สวน
    เฉลย ง. ไต่สวน
  8. การนับวันทางสุริยคติ ถ้าปีใดมีวันที่ 29 กุมภาพันธ์ เรียกว่าปีนั้นมี ……………………….
    ก. อธิกสุรทิน
    ข. อธิกดิถี
    ค. อธิกวาร
    ง. อธิกมาส
    เฉลย ก. อธิกสุรทิน
  9. ออกพรรษาแล้วและตลอดไปจนถึงกลางเดือน เป็น ………………………. ทอดกฐิน
    ก. กิจกรรม
    ข. ประเพณี
    ค. ฤดูกาล
    ง. เทศกาล
    เฉลย ง. เทศกาล
  10. ครั้งหนึ่งข้าพเจ้าได้มีโอกาสบรรยายเรื่อง “โลกจะต้องรู้จักวรรณคดีไทย” ข้าพเจ้าได้เน้นถึงความสำคัญที่จะ ………………………. วรรณคดีไทยให้โลกรู้จัก
    ก. เผยแพร่
    ข. สนับสนุน
    ค. ส่งเสริม
    ง. แพร่หลาย
    เฉลย ก. เผยแพร่

ส่วนที่ 3: สำนวนไทยและการวิเคราะห์เนื้อหา

  1. “บางคนมีความกลัวจะสอบบรรจุไม่ติดหรือไม่ได้ จึงหมดกำลังใจที่จะสอบคราวนี้” ข้อความนี้ตรงกับข้อใด
    ก. เกลียดตัวบนถึง
    ข. ปลาหมอตายเพราะปาก
    ค. ตีตนไปก่อนไข้
    ง. แกว่งเท้าหาเสี้ยน
    เฉลย ค. ตีตนไปก่อนไข้
  2. “แหม ตั้งสองยามแล้ว ยังไม่เลิกเล่นการพนันอีก” คำว่า สองยาม หมายถึง เวลาใด
    ก. 06:00 น.
    ข. 25:00 น.
    ค. 21:00 น.
    ง. 24:00 น.
    เฉลย ง. 24:00 น.
  3. ข้อความที่กำหนดให้อ่านเกี่ยวกับ “ความสัตย์” ควรตั้งชื่อเรื่องว่าอย่างไร
    ก. ความสัตย์ทำให้สุข
    ข. ความสัตย์เป็นของอยู่ใกล้ที่สุด
    ค. ความสัตย์เป็นลาภอันประเสริฐ
    ง. คำจริงเป็นวาจาไม่ตาย
    เฉลย ก. ความสัตย์ทำให้สุข
  4. ความสัตย์เปรียบได้กับอะไร
    ก. ควันไฟ
    ข. ของประสม
    ค. ของที่ไม่ปรากฏรูปร่าง
    ง. ของแท้จริงบริสุทธิ์
    เฉลย ง. ของแท้จริงบริสุทธิ์
  5. ความสัตย์และความเท็จต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร
    ก. ความเท็จหาได้ง่ายกว่า
    ข. ความสัตย์เป็นของหาไม่ได้ ส่วนความเท็จมีอยู่ทั่วไป
    ค. เป็นของหาได้ง่ายๆ พอกัน
    ง. ความสัตย์หาได้ง่ายกว่า
    เฉลย ง. ความสัตย์หาได้ง่ายกว่า
  6. “ความจริงเป็นสิ่งไม่ตาย” เป็นคำของใคร
    ก. ศรีปราชญ์
    ข. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
    ค. นักปราชญ์ชาวยุโรป
    ง. พระพุทธเจ้า
    เฉลย ง. พระพุทธเจ้า
  7. คนที่พูดเท็จเปรียบเหมือนคนยืนอยู่บนปลายหอกหลาวเพราะเหตุใด
    ก. คอยคิดร้ายต่อผู้อื่น
    ข. ต้องคอยระแวงภัยอยู่เสมอ
    ค. ไม่มีใครคบหาสมาคม
    ง. ต้องได้รับความทุกข์ทรมานอยู่ตลอดเวลา
    เฉลย ข. ต้องคอยระแวงภัยอยู่เสมอ
  8. คนที่พูดเท็จมักถูกจับได้เสมอ เพราะเหตุใด
    ก. คนทั้งหลายจะช่วยกันจับผิด
    ข. ความเท็จเผยตัวมันเอง
    ค. ตนเองเป็นผู้เผยความเท็จ
    ง. ไม่มีใครยอมเชื่อ
    เฉลย ค. ตนเองเป็นผู้เผยความเท็จ
  9. คนที่ปิดบังความเท็จของตนไว้ เป็นคนอย่างไร
    ก. หลอกลวงทั้งตนเองและผู้อื่น
    ข. จิตใจเข้มแข็ง
    ค. หลอกลวงผู้อื่น
    ง. หลอกลวงตนเอง
    เฉลย ก. หลอกลวงทั้งตนเองและผู้อื่น
  10. “ความสัตย์ทำให้พ้นทุกข์ได้” เป็นความเห็นของใคร
    ก. ศรีปราชญ์
    ข. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
    ค. เพลโต
    ง. พระพุทธเจ้า
    เฉลย ค. เพลโต

ข้อสอบ ก.พ. 2568 ภาค ก เพิ่มเติม

ข้อสอบ ก.พ. 2568 ภาค ก วิชาภาษาอังกฤษ 30 ข้อ พร้อมเฉลย

ข้อสอบ ก.พ. 2568 ภาค ก วิชาคณิตศาสตร์ 30 ข้อ พร้อมเฉลย

ข้อสอบ ก.พ. 2568 ภาค ก วิชาภาษาไทย 30 ข้อ พร้อมเฉลย

ชุดข้าราชการ หญิงแขนสั้น
ชุดกากี
สั่งซื้อได้เลยจาก Shopee

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *