แนวข้อสอบ เรื่อง ทฤษฎีและรูปแบบระบบการบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษา การออกแบบและการวางแผน การบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษา การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ จำนวน 20 ข้อพร้อมเฉลย (เฉลยคือตัวเอียงนะครับ)
แนวข้อสอบ เรื่อง ทฤษฎีและรูปแบบระบบการบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษา 20 ข้อ
1. ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาอาศัยอำนาจตามความแห่งพระราชบัญญัติใด
ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ข. พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ
ค. พระราชบัญญัติการคุ้มครองเด็ก
ง. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
2.ข้อใดหมายถึงการประเมินคุณภาพภายใน
ก. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ข. การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา
ค. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ง. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
3. ข้อใดไม่ใช่ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ก. การประเมินคุณภาพภายใน
ข. การประเมินคุณภาพภายนอก
ค. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ง. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
4.ระบบการประกันคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐานและมุ่งพัฒนาคุณภาพ การศึกษาทุกระดับ ต้องประกอบด้วย
ก. การประเมินคุณภาพภายนอก
ข. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ค. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ง. ถูกทั้งข้อ ก.และ ข.
5.การประกันคุณภาพภายในให้สถานศึกษาดำเนินการตามข้อใด
ก. 1 ปี
ข. ทุกปี
ค. 3 ปี
ง. อย่างน้อย 3 ปี 1 ครั้ง
6. ให้สถานศึกษาดำเนินการประกันคุณภาพภายในโดยเน้นตามข้อใด
ก. ผู้เรียนเป็นสำคัญ
ข. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการศึกษา
ค. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการจัดศึกษา
ง. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการศึกษา
7. การประกันคุณภาพภายในที่กําหนดในส่วนนี้ ให้ใช้บังคับแก่การจัดการศึกษาแบบใด
ก. การจัดการอาชีวศึกษา
ข. การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ค. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. ถูกทุกข้อ
8. กรรมการผู้ ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยคําแนะนําของใคร
ก. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. กระทรวงศึกษาธิการ
ง. รองนายกรัฐมนตรี
9. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของกรรมการผู้ ทรงคุณวุฒิ
ก. มีสัญชาติไทย
ข. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ
ค. เคยได้รับโทษจําคุก
ง. ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง
10. การประกันคุณภาพใช้บังคับกับการศึกษารูปแบบใด
ก. การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. การศึกษาภาคบังคับ
ค. การอาชีวศึกษา
ง. ถูกทุกข้อ
11. ข้อใดไม่ใช่คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ข. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
12. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 4 ปี
ง. 6 ปี
13. การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไม่สอดคล้องกับข้อใดต่อไปนี้
ก.มาตรฐานการศึกษาระดับชาติ
ข.เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
ค.สภาพปัญหาของสถานศึกษา
ง. มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษา
14. การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาต้องมีการกำหนดวิธีดำเนินงานที่มีหลักวิชา ผลการวิจัย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ให้ครอบคลุมข้อใดต่อไปนี้
ก. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของสถานศึกษา
ข. วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา
ค. พันธกิจของสถานศึกษา
ง. ความต้องการที่จำเป็นของสถานศึกษา
15. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาวิเคราะห์วิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับรูปแบบและเทคนิควิธีการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง
ข. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาวิเคราะห์วิจัย และเผยแพรนวัตกรรมเกี่ยวกับรูปแบบและเทคนิควิธีการประกันคุณภาพภายนอกอย่างต่อเนื่อง
ค. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาส่งเสริม สนับสนุน และร่วมพัฒนาพร้อมทั้งสมารถยุบระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ง. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาส่งเสริม สนับสนุน และร่วมพัฒนาพร้อมทั้งสมารถยุบระบบการประกันคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา
16. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง เกี่ยวกับการจัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. ให้หน่วยงานต้นสังกัดมีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 1 ครั้ง ในทุกหนึ่งปี
ข. ให้หน่วยงานต้นสังกัดมีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 2 ครั้ง ในทุกสามปี
ค. ให้หน่วยงานต้นสังกัดมีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุกสามปี
ง. ให้หน่วยงานต้นสังกัดมีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุกเดือน
17. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
ก. รัฐมนตีแต่งตั้งโดยคำแนะนำขอคณะกรรมการอาชีวศึกษา
ข. เป็นผู้ที่มีความรู้ความความสามารถ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในด้านการจัดการศึกษา การบริหารสถานศึกษาหรือการประเมินการจัดการศึกษา
ค. แต่งตั้งจากบุคคลที่ไม่เป็นข้าราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัยที่มีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำจำนวนไม่น้อยกว่าสามคน
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
18. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแต่งตั้งจากบุคคลที่ไม่เป็นข้าราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัยที่มีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำจำนวนเท่าใด
ก. 3 คน
ข. 5 คน
ค. ไม่น้อยกว่า 3 คน
ง. ไม่น้อยกว่า 5 คน
19. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา
ก. วางระเบียบหรืออกประกาศกำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายนอกการอาชีวศึกษา
ข. เสนอแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษา โดยนำผลการประเมินทั้งภายในและภายนอกไปปรับปรุง
ค. แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อดำเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอาชีวศึกษา
ง. ปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการการอาชีวมอบหมาย
20. ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ตามข้อใด
ก. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ข. จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ค. จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ง. ถูกทุกข้อ