จรรยาบรรณวิชาชีพครู ล่าสุด พ.ศ. 2556 จรรยาบรรณวิชาชีพครู ล่าสุด พ.ศ. 2556

จรรยาบรรณวิชาชีพครู ล่าสุด พ.ศ. 2556

จรรยาบรรณวิชาชีพครู ล่าสุด พ.ศ. 2556

จรรยาบรรณวิชาชีพครู ล่าสุด พ.ศ. 2556

ขณะนี้คุรุสภาได้จัดทำแบบแผนพฤติกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพครู 5 ด้านพร้อมพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในแต่ละด้านเสร็จเรียบร้อยแล้ว ประกอบด้วย 

1.จรรยาบรรณต่อตนเอง

ครูต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองต้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่สมอ โตยต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติ ตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้

2.จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 

ครูต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ ละเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพโดยต้องประพฤติและละว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้

3.จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ 

ครูต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจ โดยไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญของศิษย์และผู้รับบริการ
หรือเรียกรับ ยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ 

สาระสาคัญของจรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ

3.1 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า
3.2 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
3.3 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏิบัติตนป็นแบบอย่างที่ตึ ทั้งทงกาย วาจา และจิตใจ
3.4 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญาจิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ และผู้รับบริการ
3.5 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภา โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ

4.จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ 

ครูพึงช่วยเหลือเกลือกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรมสร้างความสามัคคีในหมู่ณะ โตยต้องประพฤติและละว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ตังตัวอย่างต่อไปนี้

5.จรรยาบรรณต่อสังคม

ครูพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *