ข้อสอบการวิจัยทางการศึกษา 2565 จำนวน 40 ข้อพร้อมเฉลย ข้อสอบการวิจัยทางการศึกษา 2565 จำนวน 40 ข้อพร้อมเฉลย

ข้อสอบการวิจัยทางการศึกษา 2565 จำนวน 40 ข้อพร้อมเฉลย

ข้อสอบการวิจัย 2565 ข้อสอบการวิจัยทางการศึกษา 2565 จำนวน 40 ข้อพร้อมเฉลย

  1. การวิจัยคือข้อใด
    ก. กระบวนการคำนวณทางคณิตศาสตร์
    ข. รูปแบบของกระบวนการเรียนรู้ชนิดหนึ่ง
    ค. กระบวนการศึกษาค้นคว้าหาคำตอบ
    ง. วิธีการทำความเข้าใจกับบทเรียน
  2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ ประโยชน์ของการทำวิจัย
    ก. ช่วยให้มีรายได้ดีจากการทำวิจัย
    ข. ช่วยแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน
    ค. ช่วยแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง
    ง. ช่วยให้เกิดความรู้ใหม่ๆ
  3. เป็นการสำรวจค้นคว้าเบื้องต้น เพื่อเป็นแนวทางในการหาความจริง เป็นประเภทของ
    งานวิจัยในข้อใด
    ก. การวิจัยเชิงประยุกต์ (Applied Research)
    ข. การวิจัยเชิงเหตุผล (Causal Research)
    ค. การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research)
    ง. การวิจัยเชิงสำรวจหรือการวิจัยเบื้องต้น( Exploratory Research)
  4. เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์พรรณนา หรือบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นว่ามีความสำคัญ
    อย่างไร เป็นประเภทของงานวิจัยในข้อใด
    ก. การวิจัยเชิงประยุกต์ (Applied Research)
    ข. การวิจัยเชิงเหตุผล (Causal Research)
    ค. การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research)
    ง. การวิจัยเชิงสำรวจหรือการวิจัยเบื้องต้น( Exploratory Research)
  1. เป็นการศึกษาเพื่อใช้อธิบายปัญหา นำมาสรุปเป็นทฤษฎีต่าง ๆ เพราะหาเหตุผลและ
    ทดสอบ ความสัมพันธ์ต่าง ๆ ได้อย่างไร เป็นประเภทของงานวิจัยในข้อใด
    ก. การวิจัยเชิงประยุกต์ (Applied Research)
    ข. การวิจัยเชิงเหตุผล (Causal Research)
    ค. การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research)
    ง. การวิจัยเชิงสำรวจหรือการวิจัยเบื้องต้น( Exploratory Research)
  2. เป็นการนำผลของการวิจัยที่ได้ออกมานี้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในด้านอื่น ๆ ต่อไป เป็น
    ประเภทของงานวิจัยในข้อใด
    ก. การวิจัยเชิงประยุกต์ (Applied Research)
    ข. การวิจัยเชิงเหตุผล (Causal Research)
    ค. การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research)
    ง. การวิจัยเชิงสำรวจหรือการวิจัยเบื้องต้น( Exploratory Research)
  3. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะที่สำคัญของงานวิจัย
    ก. การหาตัวแปล
    ข. การสังเกต
    ค. การแปลผล
    ง. การสรุปผล
  4. ข้อใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบสำคัญสำหรับงานวิจัย
    ก. ส่วนนำ
    ข. เนื้อเรื่อง
    ค. แนบท้าย
    ง. อ้างอิง
  5. ปกนอกของงานวิจัยควรบอกอะไรบ้าง
    ก. ชื่อเรื่อง/ผู้ทำวิจัย
    ข. ชื่อเรื่อง/ผู้จัดทำ/แนบท้าย
    ค. ชื่อเรื่อง/ชื่อผู้จัดทำ/สถานที่หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ
    ง. ชื่อเรื่อง/ชื่อผู้จัดทำ/ระยะเวลาในการจัดทำ/สถานที่วิจัย
  1. เนื้อหาในงานวิจัยมีทั้งหมดกี่บท
    ก. 5 บท
    ข. 6 บท
    ค. 7 บท
    ง. กี่บทก็ได้
  2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่มีในบทที่ 1 (บทนำ) ของงานวิจัย
    ก. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
    ข. ขอบเขตของการวิจัย
    ค. กรอบแนวทางการวิจัย
    ง. ประโยชน?ที่คาดว่าจะได้รับ
    12.ข้อใดต่อไปนี้ไม่มีในบทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องของงานวิจัย
    ก. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานวัตกรรม
    ข. งานวิจัยที่ควรศึกษาและทฤษฎีการวิจัย
    ค. แนวคิด แนวปฏิบัติในการพัฒนานวัตกรรม
    ง. แนวคิด หรือสาระสำคัญเกี่ยวกับตัวนวัตกรรม
  3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่มีในบทที่ 3 วิธีการวิจัยของงานวิจัย
    ก. กรอบแนวทางการวิจัย
    ข. ขอบเขตของการวิจัย
    ค. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
    ง. การวิเคราะห์ข้อมูล
  4. ข้อใดต่อไปนี้ไม่มีบทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล / ผลการวิจัยของงานวิจัย
    ก. กรอบแนวทางการวิจัย
    ข. ขอบเขตของการวิจัย
    ค. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
    ง. การวิเคราะห์ข้อมูล
  1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่มีบทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล / ผลการวิจัยของงานวิจัย
    ก. กรอบแนวทางการวิจัย
    ข. ขอบเขตของการวิจัย
    ค. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
    ง. การวิเคราะห์ข้อมูล
  1. กรอบแนวทางการวิจัยอยู่ในบทที่เท่าไหร่ของงานวิจัย
    ก. บทที่ 1 บทนำ
    ข. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    ค. บทที่ 3 วิธีการวิจัย
    ง. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล / ผลการวิจัย
  2. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับอยู่ในบทที่เท่าไหร่ของงานวิจัย
    ก. บทที่ 1 บทนำ
    ข. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    ค. บทที่ 3 วิธีการวิจัย
    ง. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล / ผลการวิจัย
  3. ข้อเสนอแนะอยู่ในบทที่เท่าไหร่ของงานวิจัย
    ก. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    ข. บทที่ 3 วิธีการวิจัย
    ค. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล / ผลการวิจัย
    ง. บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล
  4. ขั้นตอนสุดท้ายของการวิจัย คือข้อใด
    ก. สร้างทฤษฏี
    ข. สรุปผล
    ค. คำนวณความเป็นไปได้
    ง. แนะแนวทาง
  5. ตัวแปร (variables) หมายถึงข้อใด
    ก. คุณลักษณะสำคัญของข้อมูล
    ข. สิ่งที่ต้องการค้นหา
    ค. สิ่งที่ควบคุมไม่ได้
    ง. ลักษณะสำคัญของสิ่งต่างๆที่ผู้วิจัยต้องการค้นหาความจริง
  1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ ชนิดของตัวแปร
    ก. ตัวแปรอิสระ
    ข. ตัวแปรตาม
    ค. ตัวแปรกำหนด
    ง. ตัวแปรสอดแทรก
  2. เป็นตัวแปรที่เป็นผลเมื่อตัวแปรอิสระเป็นเหตุหมายถึงข้อใด
    ก. ตัวแปรอิสระ
    ข. ตัวแปรตาม
    ค. ตัวแปรกำหนด
    ง. ตัวแปรสอดแทรก
  3. ตัวแปรที่เกิดขึ้นก่อนและเป็นตัวเหตุทำให้เกิดผลตามมา หมายถึงข้อใด
    ก. ตัวแปรอิสระ
    ข. ตัวแปรตาม
    ค. ตัวแปรกำหนด
    ง. ตัวแปรสอดแทรก
  4. ตัวแปรประเภทใดที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น
    ก. ตัวแปรต้น
    ข. ตัวแปรตาม
    ค. ตัวแปรควบคุม
    ง. ตัวแปรอิสระ
  5. “การพัฒนาพฤติกรรมการอ่านวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น ม.3”
    ข้อใดคือตัวแปรตาม
    ก. โรงเรียน
    ข. ชั้น
    ค. อายุ
    ง. พฤติกรรม
  1. การวิจัยในชั้นเรียนจัดเป็นการวิจัยรูปแบบใด
    ก. เชิงพัฒนารูปแบบการเรียนรู้
    ข. เชิงปริมาณ
    ค. เชิงปฏิบัติการ
    ง. เชิงสอดแทรก
  2. สมมติฐาน (hypothesis) คือข้อใด
    ก. คำตอบที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า
    ข. การวิเคราะห์ที่ผ่านการประมวลผล
    ค. การศึกษาหาคำตอบ
    ง. ไม่มีข้อใดถูก
  3. สมมติฐานแบ่งออกเป็น กี่ ประเภทอะไรบ้าง
    ก. 2 ประเภท ทางตรง/ทางโค้ง
    ข. 2 ประเภท มีทิศทาง/ไม่มีทิศทาง
    ค. 3 ประเภท ทางตรง/ทางโค้ง/เลี้ยวเบน
    ง. 3 ประเภท มีทิศทาง/ไม่มีทิศทาง/ไม่กำหนด
  4. ข้อใดที่ต้องมีการการคาดคะเนคำตอบของการวิจัย
    ก. ศึกษาแนวทาง
    ข. สรุปผลหาคำตอบ
    ค. วิเคราะห์ข้อมูล
    ง. สร้างสมมุติฐาน
  5. ข้อใด ไม่ใช่ การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
    ก. ความเที่ยงตรง
    ข. ความเชื่อมั่น
    ค. อำนาจจำแนก
    ง. ความเป็นสากล
  1. ข้อใด ไม่ใช่ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
    ก. ฐานนิยม (Mode)
    ข. มัธยฐาน (Median)
    ค. ค่าเฉลี่ย (Mean)
    ง. ไม่มีข้อใดผิด
  2. ค่าของข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง เมื่อมีการจัดเรียงข้อมูลทั้งหมดจากน้อยไปหามาก
    หมายถึงข้อใด
    ก. ฐานนิยม (Mode)
    ข. มัธยฐาน (Median)
    ค. ค่าเฉลี่ย (Mean)
    ง. ไม่มีข้อใดถูก
  3. ข้อมูลที่เกิดขึ้นซ้ำกันมากที่สุด หมายถึงข้อใด
    ก. ฐานนิยม (Mode)
    ข. มัธยฐาน (Median)
    ค. ค่าเฉลี่ย (Mean)
    ง. ไม่มีข้อใดถูก
  4. ผลรวมของข้อมูลทั้งหมดหารด้วยจำนวนทั้งหมดของข้อมูล หมายถึงข้อใด
    ก. ฐานนิยม (Mode)
    ข. มัธยฐาน (Median)
    ค. ค่าเฉลี่ย (Mean)
    ง. ไม่มีข้อใดถูก
  5. ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีชื่อย่อ ตามข้อใด
    ก. S.D.
    ข. M.D.
    ค. P.V.
    ง. S.D.
  1. ข้อใด ไม่ใช่ จุดมุ่งหมายของการวิจัยในชั้นเรียน
    ก. ตัดเกรด
    ข. หาสาเหตุของพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
    ค. พัฒนาผู้เรียน
    ง. แก้ปัญหาผู้เรียน
  2. ข้อใดคือ ขั้นตอนแรกของกระบวนการจัดทำการวิจัยในชั้นเรียน
    ก. การวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน
    ข. การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง
    ค. การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
    ง. การออกแบบการทดลอง
  3. “ด.ช.ต้นไม่ชอบทำงานรวมกลุ่มกับเพื่อน” ควรใช้วิธีการใดในการรวบรวมข้อมูล
    เพื่อแก้ปัญหา
    ก. การทดสอบ
    ข. การสังเกต
    ค. การสัมภาษณ์
    ง. การกรอกแบบสอบถาม
  4. ข้อใด ไม่ใช่ การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
    ก. ความเที่ยงตรง
    ข. ความเป็นสากล
    ค. อำนาจจำแนก
    ง. ความเชื่อมั่น
  5. ค่าอำนาจจำแนกของแบบวัดควรมีค่าเท่าใด
    ก. .10 – 1.00
    ข. .20 – 1.00
    ค. .5-.80
    ง. .8-.80
  1. ค่าอำนาจจำแนกของแบบวัดควรมีค่าเท่าใด
    ก. .10 – 1.00
    ข. .20 – 1.00
    ค. .5-.80
    ง. .8-.80

เฉลยแนวข้อสอบการวิจัยทางการศึกษา

ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย
1 ค 11 ค 21 ข 31 ข
2 ก 12 ข 22 ก 32 ก
3 ง 13 ข 23 ข 33 ค
4 ค 14 ข 24 ง 34 ง
5 ข 15 ค 25 ค 35 ก
6 ก 16 ก 26 ก 36 ก
7 ก 17 ง 27 ข 37 ค
8 ค 18 ข 28 ง 38 ข
9 ค 19 ง 29 ง 39 ข
10 ก 20 ค 30 ง 40 ข

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *